วันศุกร์ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2563

บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับความรู้

          ความรู้เป็นคําที่เข้าใจยากเนื่องจากมีความเป็นนามธรรมสูง ทําให้หลายคนเกิดความสับสน รู้สึกว่าอะไรคือความรู้ นอกจากนี้ยังมีคําถามตามมาอีกมากว่า เมื่อนิยามไม่ได้ว่าความรู้คืออะไรแล้วจะจัดการ  ความรู้กันอย่างไร ซึ่งในที่นี้มีนักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงความรู้ในประเด็นต่างๆ ดังนี้

บทที่ 2 การจัดการความรู้


การจัดการความรู้

พัฒนาการของการจัดการความรู้


-พัฒนาการของการจัดการความรู้ในช่วงเวลาประมาณ 15-20 ปีมีพัฒนาการแบ่งตาม
วัตถุประสงค์ออกเป็น 3 ระยะหรือ 3 ยุคคือ
-ระยะแรก-ยุค Pre-SECI เป็นการจัดการความรู้เพื่อการนำความรู้มาใช้ประโยชน์
-ระยะที่สอง-ยุค SECI เป็นการจัดการความรู้เพื่อแลกเปลี่ยนและถ่ายโอนความรู้
-ระยะที่สาม-ยุค Post – SECI เป็นการจัดการความรู้เพื่อการสร้างองค์ความรู้ใหม่และนวัตกรรม

บทที่ 3 กระบวนการจัดการความรู้

          การจัดการความรู้ (Knowledge Management) หรือที่เรียกย่อๆ ว่า KM คือ เครื่องมือเพื่อใช้ในการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 3 ประการไปพร้อมๆ กัน ได้แก่ บรรลุเป้าหมายของงาน บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน และบรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กรไปสู่ การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยการจัดการให้มีการค้นพบความรู้ ความชำนาญที่แฝงเร้นในตัวคน หาทางนำออกมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตกแต่งให้ง่ายต่อการใช้สอยและมีประโยชน์เพิ่มขึ้น มีการต่อยอดให้ งดงาม และใช้ได้เหมาะสมกับสภาพความเป็นจริงและกาละเทศะ ยิ่งขึ้น มีความรู้ใหม่หรือนวัตกรรมเกิดขึ้นจากการเอา ความรู้ที่ไม่เหมือนกันมาเจอกันและเป็นกระบวนการที่จะช่วยให้เกิดพัฒนาการของความรู้ หรือการจัดการความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในองค์กร มีทั้งหมด 7 ขั้นตอน ได้แก่

บทที่ 4 องค์การแห่งการเรียนรู้

          องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) เป็นแนวคิดในการพัฒนาองค์การโดยเน้นการพัฒนาการเรียนรู้สภาวะของการเป็นผู้นำในองค์การ (Leadership) และการเรียนรู้ร่วมกัน ของคนในองค์การ (Team Learning) เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ประสบการณ์ และทักษะร่วมกัน และพัฒนาองค์การอย่างต่อเนื่องทันต่อสภาวะการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันการมีองค์การแห่งการเรียนรู้นี้จะทำให้องค์การและบุคลากร มีกระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพและมีผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผล โดยมีการเชื่อมโยงรูปแบบของการทำงานเป็นทีม (Team working) สร้างกระบวนการในการเรียนรู้และสร้างความเข้าใจเตรียมรับกับความเปลี่ยนแปลง เปิดโอกาสให้ทีมทำงานและมีการให้อำนาจในการตัดสินใจ (Empowerment) เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศของการคิดริเริ่ม (Initiative) และการสร้างนวัตกรรม (Innovation) ซึ่งจะทำให้เกิดองค์การที่เข้มแข็ง พร้อมเผชิญกับสภาวะการแข่งขันLearning Organization หรือ การทำให้องค์การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ เป็นคำที่ใช้เรียกการรวมชุดของความคิดที่เกิดขึ้นมาจากการศึกษาเรื่องขององค์การ Chris Argyris ได้ให้แนวคิดทางด้าน Organization Learning ร่วมกับ Donald Schon ไว้ว่า เป็นกระบวนการที่สมาชิกขององค์การให้การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก ด้วยการตรวจสอบและแก้ไขผิดพลาดที่เกิดขึ้นเสมอ ๆ ในองค์การ

บทที่ 5 วัฏจักร(วงจรชีวิต)การพัฒนาระบบการจัดการความรู้

เปรียบเทียบวงจรชีวิตการพัฒนาระบบแบบดั้งเดิมกับวงจรการพัฒนาระบบการจัดการความรู้

บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับความรู้

          ความรู้เป็นคําที่เข้าใจยากเนื่องจากมีความเป็นนามธรรมสูง  ทําให้หลายคนเกิดความสับสน รู้สึกว่าอะไรคือความรู้ นอกจากนี้ยังมีคําถามตา...